Type camp by Jessica R. Yurasek (แปลสรุปข่าว)


Let’s face it, most of the general public does not really understand typography. So when I first tell people that I attended something called ‘Type Camp’ this summer, I tend to garner a lot of puzzled looks. But, smiling bemusedly, the typographic outsider with whom I am conversing, is likely to then ask a question not so far off from my own the first time I heard about Type Camp: what, exactly, do you do there?
Well, explore typography, of course.
I signed up for Type Camp not quite knowing what to expect, but I knew one thing for certain: that the past two years at my in-house design job had burned my creativity to a crisp. There are many things I love about my work, but I was beginning to feel like I had settled into a rut. So when I found a link to the Type Camp website, my heart jumped. Started in 2007 by teacher and typographer Dr. Shelley Gruendler, Type Camp professed to be a living-learning creative retreat for designers and typophiles — a seemingly perfect way to escape my creative slump. It sounded absolutely glorious to travel to an island off the coast of Vancouver, BC to study typography with four inspiring teachers and a group of like-minded designers. I couldn’t wait.
And rightfully so. From the moment I stepped off the ferry onto Galiano Island, I felt as if I’d entered an impossibly magical creative dreamland. The chance to study typography with ShelleyStephen Coles, Tiffany Wardle (aka Typegirl), and Marian Bantjes, seemed like a dream enough. But add that to a lovely landscape filled with fresh-scented pine, luscious blackberry bushes, and pristine sea air, and I was convinced that things couldn’t get much better.

ว่ากันตามตรงว่าประชาชนส่วนใหญ่ไม่ค่อยเข้าใจในศาสตร์แห่งตัวอักษรนัก ดังนั้น เมื่อฉันบอกกับคนแรกว่าฉันได้เข้าร่วมกิจกรรมที่เรียกว่า "ค่ายตัวอักษร" ในซัมเมอร์นี้ ฉันมีแนวโน้มที่จะสะสมสิ่งที่ดูงงงวยนี้ให้ได้มากๆ แต่ผู้ที่ฉันสนทนาด้วยค่อนข้างเป็นคนนอกในเรื่องศาสตร์แห่งการพิมพ์นี้ คือเมื่อได้ยินคำถามครั้งแรกมันดูค่อนข้างไม่ห่างไกลจากตัวฉันเมื่อฉันได้ยินคำถามเกี่ยวกับค่ายตัวอักษรเป็นครั้งแรก คือคำถามว่า "คุณจะไปทำอะไรที่นั่น?"
ใช่ ฉันจะไปสำรวจเรื่องศาสตร์แห่งตัวอักษรแน่นอน
ฉันเข้าร่วมค่ายตัวอักษรแบบไม่ค่อยคาดหวังอะไรนัก แต่สิ่งหนึ่งที่ฉันรับรู้อย่างมั่นใจคือ สองปีที่ผ่านมาในการทำงานออกแบบที่บ้านของฉัน มันค่อยข้างทำให้ความคิดสร้างสรรค์ของฉันแผดเผาจนมันกรอบ(ในที่นี้อาจหมายถึงความคิดเริ่มตัน ไปในทางที่ไม่ค่อยดีสำหรับนักออกแบบ) มีหลายสิ่งที่ฉันรักในงานของฉัน แต่ฉันรู้สึกว่ามันทำให้ฉันนั่งอยู่ในหลุม แล้วเมื่อฉันพบลิ้งค์เว็ปไซต์ของค่ายตัวอักษรนี้ หัวใจของฉันก็กระโดดโลดเต้น มันเริ่มขึ้นเมื่อปี 2007 โดยอาจารย์และนักออกแบบตัวอักษร ด็อกเตอร์เชลลี่ย์ กรึนด์เลอร์ ค่ายตัวอักษรนี้เป็นที่อยู่อาศัยสำหรับการเรียนรู้ชีวิตนักออกแบบสำหรับนักออกแบบและคนที่คลั่งใคล้ในตัวอักษร (philes หมายถึง ผู้คลั่งใคล้หรือลัทธิก็ได้) ซึ่งเป็นวิธีที่สมบูรณ์แบบเพื่อที่จะหลบหลีกความคิดสร้างสรรค์ที่มันตกต่ำลงของฉัน มันฟังดูค่อนข้างดูดีมาก ที่จะได้เดินทางไปยังเกาะนอกชายฝั่งของแวนคูเวอร์ เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับศาสตร์การออกแบบตัวอักษรกับครูที่สร้างแรงบันดาลใจทั้งสี่คน และกลุ่มนักออกแบบที่มีเป้าหมายเดียวกัน ฉันอดใจรอไม่ไหวแล้ว
และเพื่อความถูกต้อง จากขณะนั้น ฉันเริ่มต้นออกเรือเฟอร์รี่ไปยังเกาะกาลิเอโน่ ฉันรู้สึกได้ว่า ราวกับฉันได้เข้าสู่โลกแห่งความคิดสร้างสรรค์ที่มีมนต์ขลังอย่างไม่น่าเชื่อ โอกาสในการศึกษาศาสตร์ของการออกแบบตัวอักษรกับเชลลี่ย์, สตีเฟ่น โคลส์, ทิฟฟานี่ วาร์เดิ้ล (นามปากกา ไทป์เกิร์ล) และมาเรียน แบนท์เจส ดูเหมือนความฝันเกินพอ แต่เพิ่มวิวทิวทัศน์ที่แสนน่ารักที่เต็มไปด้วยต้นสนหอมสด, พุ่มแบล็คเบอร์รี่ และอากาศบริสุทธ์ของทะเล และฉันมั่นใจว่าไม่มีสิ่งไหนจะดีไปว่านี้อีกแล้ว

And so, the adventure began. Any fears that I wasn’t typographically savvy enough to be a Type Camper were quickly wiped away with anticipation, curiosity and excitement as we piled into a mini yellow school bus and headed towards our home for the week. At the end of a very green, tree-lined, dirt road lay our forest retreat house on the water’s edge.  Abundant vines grew around the wooden porch, the kitchen overlooked the sea, and the billowing curtains lining my bedroom windows all made me feel as if I was living in my own personal Taj Mahal. This in contrast to dry, dirty Los Angeles instantly lifted my spirits. Half in disbelief, I realized that this environment — perfectly conducive to creativity — was where we would spend the entire week learning about type. Forget stuffy office cubicles and ridiculously tight deadlines, this was my chance to step away from reality and focus on my own work.

และเมื่อการผจญภัยได้เริ่มต้นขึ้น ความกลัวที่ฉันไม่เข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์แห่งการออกแบบตัวอักษรที่ค่ายแห่งนี้ ก็ได้สลัดออกไปอย่างรวดเร็ว และเต็มเปี่ยมไปด้วยความคาดหวัง ความอยากรู้ และความตื่นเต้นในขณะที่พวกเราอยู่บนรถโรงเรียนสีเหลืองคันเล็กๆ ที่มุ่งหน้าไปยังบ้านของพวกเราสำหรับทั้งสัปดาห์ ที่สุดทางของถนนสกปรกสีเขียวชอุ่ม ที่เรียงรายไปด้วยต้นไม้ คือบ้านป่าที่ตั้งอยู่ริมน้ำของพวกเรา มีไม้เลื้อยมากมายเติบโตรอบระเบียงไม้ ห้องครัวอยู่ตรงข้ามทะเล และม่านที่มีอยู่มากมายที่หน้าต่างของห้องนอน ทั้งหมดนี้มันทำให้ฉันรู้สึกเหมือนอยู่ในทัชมาฮาลส่วนตัว ซึ่งเป็นในทางตรงกันข้ามของแห้งและสกปรกในลอสแองเจลิส ที่ซึ่งยกระดับจิตวิญญานของฉัน ครึ่งหนึ่งของความไม่เชื่อถือ ฉันได้ตระหนักดีว่าด้วยสภาพแวดล้อมแห่งนี้ จะมีส่วนช่วยในความคิดสร้างสรรค์ของฉันอย่างเต็มที่ ซึ่งมันเป็นจุดที่เราจะใช้เวลาไปกับการเรียนรู้ในเรื่องของตัวอักษรตลอดทั้งสัปดาห์ ลืมสำนักงานที่อับชื้นและมีกำหนดงานที่เข้มงวดไปได้เลย นี่คือการเปลี่ยนแปลงก้าวต่อไปของฉันสำหรับความเป็นจริงและการตั้งใจทำงานของฉัน


Our days at Type Camp were structured on themes, the first being perception. Looking closer, slowing down, turning it upside down — each lesson was a reminder that details matter. Unplugging the computer enabled me to plug into lost creative energy. Not to mention that the satisfyingly crinkly sound of tracing paper did something special to bring me back to simpler childhood days. Group critiques of our sketches provided a platform for dialogue and discussion, something that is so often absent from my daily routine in the office. Talking about why each hand-drawn exploration was or was not successful helped to focus my attention on the idiosyncrasies of each form. Such intense dissection of individual letterforms established a basis from which to recognize when and why one type style might be selected over another. This detailed analysis — the theme of day two — continued throughout the week in various conversations and exercises. We spent time looking at piles of newspapers and magazines from all over the world. We examined various examples of display type, body text, and line length and talked about how they were all used together to create strong or sometimes weak layouts. We thought about audience and cultural context. The analysis of typographic decisions in design became even more focused as we discussed how font selection boils down to three main categories of consideration: style, function, and size of family. While there is no exact magical formula for selecting a typeface, there are many variables to consider — the historical and cultural feeling it invokes, the font styling, and the language support, among other things.

แต่ละวันของพวกเราที่ค่ายตัวอักษรนี้มีโครงสร้างเป็นธีม ความเข้าใจเป็นอย่างแรก ดูใกล้ๆ ช้าๆ หมุนมันและคว่ำ แต่ละบทเรียนเป็นการเตือนความจำว่ารายละเอียดนั้นสำคัญ การถอดปลั๊กคอมพิวเตอร์ช่วยให้ฉันเสียบปลั๊กเติมพลังความคิดสร้างสรรค์ที่หายไปได้ ไม่ต้องพูดถึงเสียงตอบรับที่น่าพอใจสำหรับกระดาษร่างที่มีอะไรบางอย่างที่พิเศษ ที่พาฉันกลับไปสู่วัยเด็ก การวิจารณ์แบบกลุ่มเกี่ยวกับภาพร่างของเราเหมือนเวทีสำหรับการสนทนาและการอภิปราย บางสิ่งบางอย่างเหมือนขาดหายไปจากชีวิตออฟฟิศ พูดคุยกันเกี่ยวกับว่าการร่างแบบด้วยมือนั้นประสบความสำเร็จหรือไม่ และช่วยเจาะจงความสนใจในรูปแบบเฉพาะของฉัน การแยกแยะรูปแบบตัวอักษรอย่างเข้มข้น ทำให้เราเข้าถึงและมีพื้นฐานในเรื่องของสไตล์ว่าเมื่อไหร่ และทำไม ถึงควรจะเลือกสไตล์อย่างอื่นที่เหมาะสม การวิเคราะห์อย่างละเอียดนี้เป็นหัวข้อของวันที่สอง และบทสนทนานี้ต่อเนื่องไปตลอดทั้งสัปดาห์ รวมไปถึงการออกกำลังกายอีกด้วย พวกเราใช้เวลาดูกองหนังสือพิมพ์และนิตยสารจากทั่วโลก เราทดสอบตัวอย่างต่างๆของแสดงผลตัวอักษร, รูปร่าง และความยาวของเส้น และพูดคุยเกี่ยวกับวิธีที่พวกเขาถูกใช้ร่วมกันเพื่อสร้างรูปแบบที่แข็งแรงหรือบางครั้งก็อ่อนแอ พวกเราควรคิดถึงผู้ชมและบริบททางวัฒนธรรม การวิเคราะห์การตัดสินใจเกี่ยวกับการออกแบบตัวอักษรในการออกแบบกลายเป็นเรื่องที่เน้นมากขึ้นในขณะที่เราได้กล่าวถึงการเลือกแบบอักษรลงไปถึงสามประเภทหลักๆ คือ สไตล์, การใช้งาน และขนาดของตระกูลตัวอักษร ซึ่งไม่มีสูตรตายตัวสำหรับการการเลือกตัวอักษร มีตัวแปรหลายอย่างที่ควรคำนึงถึง, ความรู้สึกที่เรียกร้องทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม, การจัดรูปแบบตัวอักษร และภาษาที่รองรับ 



If perception lead us to analysis, then analysis brought us to the theme of exploration. Typographic artist Marian Bantjes encouraged us to look for visual patterns within words and to think about letterforms graphically. By playing with the potential of nesting letters, looking at vertical and horizontal contrasts as well as upper and lowercase, we began to think about how individual letters themselves can make abstract shapes or form relationships. And it was from here that we began to experiment with the linocut printing process. As a group, we played with colors and patterns, collaborating to make take-home reminders of our time together.

หากการรับรู้ นำไปสู่การวิเคราะห์ จากนั้นการวิเคราะห์ก็จะนำเราไปสู่รูปแบบของการสำรวจ นักออกแบบตัวอักษร มาเรียน แบนท์เจส กระตุ้นให้เรามองเห็นรูปแบบภายในคำ และคิดเกี่ยวกับรูปแบบตัวอักษรกราฟิค โดยการเล่นกับศักยภาพของการซ้อนกันของตัวอักษร มองไปที่ความแตกต่างของแนวตั้งและแนวนอนเช่นเดียวกับตัวพิมพ์ใหญ่และพิมพ์เล็ก พวกเราเริ่มคิดถึงตัวอักษรแต่ละตัวที่สามารถสร้างรูปทรงนามธรรมหรือสร้างความสัมพันธ์กันได้ และจากที่นี่เราเริ่มทดลองด้วยกระบวนการแกะสลัก ในกลุ่ม เราเล่นกับสีและรูปแบบ ทำงานร่วมกันเพื่อเป็นการเตือนความจำว่าเราอยู่บ้านหลังเดียวกัน 


Sadly Type Camp seemed to end too soon. I look at all the prints and sketches now, clumsily stuck to my office wall back home, and think about the creative rejuvenation from my time there. A framed poster — to which each fellow camper contributed a lino-printed mark — stands out among a handful of my own inked drawings of glyphs. It is this piece that reminds me most of the power and energy of our collective imagination. Sometimes, only by entirely stepping out of our familiar environment, are we able to truly reinvigorate creativity. Every so often we need to be reminded of the obvious, that which can become lost in the midst of our daily routine.
Type Camp gave me the chance to luxuriate in creativity and education, to reassess my professional and creative life goals, and to redefine my personal design process. It was a starting point for a new direction. Not nearly long enough to provide all of life’s answers, my precious time there gave me a new set of tools from which to draw upon. Perhaps one of the most important things I came to understand at Type Camp is that there is still a whole lot more out there to learn, and this is just the beginning.

เป็นเรื่องน่าเศร้าที่ค่ายตัวอักษรนี้กำลังจะจบลงในเร็ววัน ฉันมองไปที่ทุกๆ งานพิมพ์และแบบสเก็ตช์ในตอนนี้ คงจะดูงุ่มง่าม เมื่อฉันนำไปติดที่ผนังออฟฟิศตอนกลับบ้าน และคิดเกี่ยวกับการฟื้นฟูความคิดสร้างสรรค์ของฉันในขณะนี้ กรอบโปสเตอร์ ซึ่งค่ายได้ทำเครื่องหมายแกะสลักนั้นโดดเด่นอยู่ท่ามกลางภาพร่างแบบตัวอักษรที่ฉันออกแบบมันขึ้นมาเอง เป็นชิ้นส่วนที่ทำให้ฉันนึกถึงพลังและจินตนาการของพวกเรา บางทีมันอาจจะพาฉันก้าวข้ามผ่านสภาพแวดล้อมที่คุ้นเคย ว่าฉันสามารถประดิษฐ์ความคิดสร้างสรรค์ได้อย่างแท้จริงหรือไม่ ทุกครั้งที่เราต้องการคำแนะนำที่ชัดเจน ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่สูญหายไปในระหว่างชีวิตประจำวันของเรา
ค่ายตัวอักษรได้ให้โอกาสฉันศึกษาเรื่องความคิดสร้างสรรค์ เพื่อประเมินเป้าหมายทางด้านสร้างสรรค์อาชีพ และกำหนดกระบวนการออกแบบส่วนบุคคลของฉันได้เป็นจุดเริ่มต้นของทิศทางใหม่ๆ ไม่นานพอที่จะให้ทุกคำตอบของชีวิต เวลาที่มีค่าของฉันที่นี่ได้มอบสิ่งใหม่ๆเพื่อเป็นเครื่องมือที่ฉันจะวาดงานขึ้นมา บางทีสิ่งที่สำคัญที่สุดที่ฉันได้เข้าใจในค่ายตัวอักษรนี้ ก็คือยังมีอีกหลายเรื่องที่จะเรียนรู้ และนี่เป็นแค่เพียงจุดเริ่มต้นเท่านั้น


ความคิดเห็น